ไฟโบรอินและเซริซินจากเส้นใยไหมในการกระ
ตุ้นกระบวนการ
Cell
Migration ด้วยวิธี
Upregulation และ Phosphorylation
ของยีนสร้างโปรตีน c-jun

การรักษาบาดแผลเป็นกระบวนการทางชีวภาพเพื่อฟื้นฟูเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บซึ่งขั้นตอนสำคัญของการรักษาบาดแผลคือการสร้างเนื้อเยื่อบุผิวที่จะสามารถเข้ามาแทนที่ผิวหนังชั้นนอกที่เป็นแผลความหลากหลายของผลิตภัณฑ์จากไฟโบรอินและเซริซินที่ได้จากเส้นใยไหมสามารถกระตุ้นการสมานแผล
อย่างไรก็ตามเท่าที่ผ่านมาเรื่องนี้ยังไม่สามารถอธิบายได้ในระดับโมเลกุลจุดมุ่งหมายของงานนี้คือการตรวจสอบโมเลกุลพื้นฐานที่มีคุณสมบัติในการรักษาแผลของโปรตีนจากเส้นไหมในรูปแบบเซลล์
โดยได้นำไฟโบรอินและเซริซินไปวิเคราะห์ในการรักษาบาดแผลรอยขีดข่วนสำหรับการทดสอบได้ใช้เซลล์MDA
– MB – 231และเซลล์ Mv1Lu โปรตีนทั้งสองจะกระตุ้นเซลล์เสมือนเป็นการนำไฟโบรอินและเซริซินมารักษาบาดแผล
เช่น กระบวนการ Upregulation of C – Jun และการสังเคราะห์ด้วยโปรตีน
C – Jun นอกจากนี้แล้วไฟโบรอินและเซริซินยังไปกระตุ้นกระบวนการ
Phosphorylation ของเอนไซม์ ERK1 และ JNK1/2การทดลองทั้งหมดนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึงการกระตุ้นสารยับยั้งการสื่อสารระหว่างเซลล์
ผลที่ได้รับคือ MEK ,JNK และ PI3K
ไฟโบรอินและเซริซินถูกนำมาทดสอบในเซลล์ Keratinocyte (HaCaT) ของมนุษย์
ผลลัพธ์ที่แสดงออกมานั้นโมเลกุลของไฟโบรอินและเซริซินเคลื่อนผ่านเซลล์เพื่อไปกระตุ้น
MEK , JNK และ PI3K การรับส่งสัญญาณสิ้นสุดลงเมื่อเราทำการกระตุ้น C - JUN
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น